แนวทางการบริหารจัดการงบ QOF ประจำปี 2563 เขต11
แนวทางการบริหารจัดการงบ QOF ประจำปี 2563 เขต11
1 มกราคม 2563

0


                                                   ติดตามตัวชี้วัด QOF และ PPA เขต 11
                                          สำนักงานสาธารณสุขอำเภอวิภาวดี  จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายการตัวชี้วัด QOF กลาง(ประเทศ)  ปี 2563

สปสช

หมายเหตุ

QOF63C_1

ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

65

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

QOF63C_2

ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

65

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

QOF63C_3

ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

55

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

QOF63C_4

ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี อายุ 30-60 ปี ภายใน 5 ปี 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

45

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

QOF63C_5.1

ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) 

น้อยกว่าร้อยละ

20

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

QOF63C_5.2

ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) 

น้อยกว่าร้อยละ

20

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

QOF63C_6

อัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC: ambulatory care sensitive condition)

ลดลงไม่น้อยกว่า

6

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

รายการตัวชี้วัด QOF เขต  ปี 2563

 

QOF63_1

ร้อยละเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) 

ไม่เกินร้อยละ 

8

ตรวจสอบ

 

QOF63_2.1

ร้อยละความครอบคลุมการคัดกรองพัฒนาการ ในเด็กปฐมวัย (42 เดือน) 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

75

ตรวจสอบ

 

QOF63_2.2

ร้อยละความครอบคลุมของเด็กปฐมวัย (42 เดือน) ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

80

ตรวจสอบ

 

QOF63_2.3

ร้อยละของเด็กปฐมวัย (42 เดือน) สูงดีสมส่วน

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

55

ตรวจสอบ

 

QOF63_3.1

ร้อยละความครอบคลุมของเด็กวัยเรียน (ป.6) ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

80

ตรวจสอบ

 

QOF63_3.2

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (ป.6) สูงดีสมส่วน 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 

60

ตรวจสอบ

 

QOF63_3.3

ร้อยละเด็กวัยเรียน (ป.6) ได้รับการคัดกรองฟันผุ 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 

80

ตรวจสอบ

 

QOF63_3.4

ร้อยละเด็กวัยเรียน (ป.6) ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 

70

ตรวจสอบ

 

QOF63_4.1

ร้อยละความครอบคลุมการคัดกรองดัชนีมวลกายในวัยทำงาน อายุ 30-44 ปี 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

50

ตรวจสอบ

 

QOF63_4.2

ร้อยละของวัยทำงาน อายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

47

ตรวจสอบ

 

รายการตัวชี้วัดค่า K ระดับจังหวัด  ปี 2563

 

QOF63K_1.1

ร้อยละความครอบคลุมการคัดกรองพัฒนาการ ในเด็ก 9, 18, 30 และ 42 เดือน

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

80

ตรวจสอบ

 

QOF63K_1.3

ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 0-5 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

80

ตรวจสอบ

 

QOF63K_1.4

ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 

55

ตรวจสอบ

 

QOF63K_2.1

ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL)

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

80

ตรวจสอบ

 

QOF63K_2.2

ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง Geriatic Syndrome ทั้ง 4 ข้อ 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

50

ตรวจสอบ

 


ฟฟฟฟฟ

 

 ตัวชี้วัด PPA

PPA63_2

เด็ก 6 เดือน ถึง 5 ปี คนไทยทุกสิทธิ์ ที่มารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก เพื่อป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

75

ตรวจสอบ

 

PPA63_3

นักเรียน ป.1-ป.6 (อายุ 6-12 ปี) คนไทยทุกสิทธิ์ ที่ได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก เพื่อป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

50

ตรวจสอบ

 

PPA63_4

เด็กอายุ 9,18,24,36 เดือน คนไทยทุกสิทธิ์ ได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบหรือทาฟลูออไรด์วาร์นิชและฝึกทักษะการแปรงฟัน 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

55

ตรวจสอบ

 

PPA63_5

ประชากรไทย วัยทำงาน (อายุ 25 – 59 ปี) ทุกสิทธิ์ ได้รับบริการตรวจคัดกรองเพื่อหาความเสี่ยงจากสารกำจัดศัตรูพืช 

ไม่น้อยกว่าร้อยละ

5

ตรวจสอบ

 

PPA63_6

เด็กไทยช่วงวัย 9,18,30 และ 42 เดือนที่ตรวจพบสงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งเสริม กระตุ้น แก้ไขและติดตามภายใน 30 วัน 

น้อยกว่าร้อยละ

100

ตรวจสอบ

 

 

 สรุปผลการดำเนินงาน QOF ปีงบประมาณ 2563

เอกสารแนบ